909 total views

บทความเกี่ยวกับขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เรือเสือ

​เรือเสือเป็นเรือพิฆาตที่เขียนลวดลายหัวเรือเป็นรูปหัวเสือ ปรากฏหลักฐานมาแต่ครั้งสมัยอยุธยา มีตำแหน่งอยู่ในขบวนนอกหน้าซึ่งเป็นขบวนหน้าสุด มีหน้าที่คอยเก็บซากสัตว์ที่ลอยน้ำมาไม่ให้ผ่านล่วงเข้าไปในขบวน ดังในลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง มีว่า ​​​“เรือเสือต่ำเตี้ยหน้า​​ ซอนซบเก็บซากลอยอรรณพ​​​ กลิ่นกล้า​​พนักงา […]

บทความเกี่ยวกับขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เรืออสูร

​เรืออสูรเป็นเรือศีรษะสัตว์ที่ทำโขนเรือเป็นรูปอมนุษย์ กายท่อนบนเป็นอสูร ท่อนล่างเป็นนก สันนิษฐานว่าได้แบบอย่างจากภาพสัตว์หิมพานต์ ดังปรากฏรูปอมนุษย์ครึ่งอสูรครึ่งนกในหนังสือภาพสัตว์หิมพานต์จากสมุดไทยดำ ของหอสมุดแห่งชาติ ระบุชื่อว่า อสุรวายุภักษ์ และอสุรปักษา รูปอมนุษย์นี้อาจได้รับอิทธิพลมาจากพญาวายุ […]

บทความเกี่ยวกับขบวนพยุห ยาตราทางชลมารค เรือคู่ชัก

เรือคู่ชัก คือเรือสำหรับจูงเรือพระที่นั่ง และเรืออื่นๆ ที่ไม่มีฝีพาย เช่น เรือการละเล่นในตอนหนึ่งของพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี [ทิ-พา-กอ-ระ-วง-มะ-หา-โก-สา-ทิ-บอ-ดี] (ขำ บุนนาค) ระบุว่ารัชกาลที่ 1 โปรดให้สร้างเรือพระที่นั่งและเรือขบวนประเภทต่างๆ มีเร […]

บทความเกี่ยวกับขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เรือดั้ง

​เรือดั้ง เป็นเรือทาน้ำมันหัวท้ายงอน เฉพาะหัวเรือจะงอนเชิดสูงกว่าทางด้านท้ายเรือเล็กน้อย เป็นเรือกันนำอยู่หน้าขบวนเรือ คำว่า ดั้ง หมายถึง หน้า เรือดั้ง จึงหมายถึง เรือที่อยู่หน้าขบวนในขบวนพยุหยาตราทางชลมารคสมัยอยุธยาในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เมื่อเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนพยุหยาตราเพชรพวงทางชลมาร […]